วันอังคารที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

บทที่ ๒ หน่วยการวัด

บทที่ ๒  หน่วยการวัด

 

              หน่วยของการวัดได้ถูกกำหนดโดยองค์การมาตราฐานหน่วยวัดสากล (SI = Systeme International) ซึ่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ยอมรับเป็นกฏหมายเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 1969 และจากการกำหนดหน่วยนี้ทำให้เกิดความเข้าใจและการร่วมมือระหว่างชาติกันมากขึ้น โดยได้ตั้งหน่วยพื้นฐานขึ้น 7 หน่วย และหน่วยอื่นก็เป็นหน่วยประกอบของหน่วยพื้นฐาน

ขนาดพื้นฐานและหน่วยพื้นฐาน

พื้นฐาน
ความยาว

มวล

เวลา
กระแสไฟฟ้า
อุณหภูมิทางเทอโมไดนามิค
จำนวนวัสดุ
ความเข้มของแสง
หน่วย
เมตร
กิโลกรัม
วินาที
แอมแปร์
เคลวิน
Mol
คาเดลลา
Eingeitenzeichen
m
kg
s
A
K
mol
cd


     คำนำหน้าในการกระจายหน่วยตามระบบเดซิมอล
         วิธีขยายหน่วยหรือย่อหน่วยตามระบบ เดซิมอล สามารถใช้คำนำหน้าตาม DIN 1301 ได้เช่น ความยาวเมตร (m) เป็นกิโลเมตร  (km)  หรือเป็นมิลลิเมตร  (mm)

ตัวย่อ
คำนำหน้า
ตัวย่อ
หน่วย
ตัวย่อ
หน่วย
ตัวย่อ
หน่วย
da
Deka = 101
M
Mega = 106
d
Dezi = 10- 1
u
Milro = 10- 6
h
Hekto = 102
G
Giga = 109
c
Zenti = 10- 2
n
Nano = 10- 9
k
Kilo = 103
T
Tera = 1012
m
Milli = 10- 3
p
Pilo = 10- 12



ขนาดความยาว
ขนาดพื้นที่
ขนาดปริมาตร
ขนาดมวล
ขนาดแรง
1 km  = 1000 m
1 km2  = 100 ha
1m3 =1000 dm3
1 t =1000 kg
1MN=10- 6 N
1 m    =     10 dm
1 ha   =  100 a
1 dm3 =  1000 cm3
1 kg  = 1000 g
1  kM  = 10- 3 N
1 dm  =     10 cm
1 a     =  100 m2
1 cm3 =  1000 mm3
1 g    = 1000 mg
1 daN  = 10 N
1 cm  =     10 mm
1 m2    =  100 dm2
1 hl    =  100 l
1 mg = 0,001 g
1  N     = 1000 mN
1 mm = 1000 um
1 dm2 =  100 cm2
1 l      =    10 dl
1 Kt  = 200 mg
1  mN  = 10- 3 N
1 um  = 0,001 mm
1cm2=100 mm2
1 ml =  1 cm3



ขนาดและหน่วย


ขนาด
ตัวย่อ
 DIN 1304
หน่วย SI
ความสัมพันธ์
หมายเหตุ
ชื่อเรียก
ตัวย่อ
ความยาว
l , s
เมตร
M
1 m  = 10 dm = 100 cm =
        = 1000 mm

พื้นที่
A,S
ตารางเมตร

เอเคอร
เฮกตาร์
m2

a
ha
1 m2  = 10000 cm2  =
         = 1000000 m m2
1 a    = 100 m2
1 ha  = 100 a = 10000 m2
ตัวย่อ S ใช้สำหรับ พ.. หน้าตัด ใช้สำหรับพื้นที่ที่ดิน เท่านั้น
ปริมาตร
V
ลูกบาศก์เมตร

ลิตร
m3

l
1  m3 = 1000 d m3=
        = 1000000  c m3
 1 l    = 1 d m3  = 0,001 m3
ส่วนมากใช้กับของเหลวและแก๊ส



หน่วยต่าง ๆ ที่ใช้ในการวัด

ค่าและหน่วย

ค่า
สัญลักษณ์ DIN 1304
หน่วย SI
ความสัมพันธ์
หมายเหตุ
ชื่อ
ตัวย่อ
มวลสาร
m
กิโลกรม
กรม
ตัน
กาหรัต

kg
g
t
kt

1 kg = 1000 g
1 g   =  0,001 kg
1 t    =   1000 kg = 1 Mg
1 kt  =   0,2 g
น้ำหนักในความหมายของคำที่ได้จากการชั่ง เป็นขนาดของมวลสารชนิดหนึ่ง (หน่วย kg) สำหรับพวกเพชรพลอยประดับ
มวลต่อความยาว
mL
กิโลกรัม
ต่ดเมตร
kg/m

1  kg/m  = 1 g/ mm
มวลต่อความยาวใช้สำหรับติดมวล (น้ำหนัก) ของ วัสดุแท่ง วัสดุรูปพรรณต่าง และท่อ
มวลต่อพื้นที่
mA
กิโลกรัม
ต่อตารางเมตร
kg/m2

1 kg/m2 = 0,1 g/ cm2
มวลต่อพื้นที่ใช้สำหรับติดวมล (น้ำหนัก) ของวัสดุแผ่น เช่น เหล็กแผ่นพลาสติกแผ่น
ความหนาแน่น
e
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
kg/m3

1000 kg/m3 = 1 t/ m3 =
                   = 1 kg/ dm3 =
                   = 1 g/cm3
ความหนาแน่นเป็นค่าคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับตำแหน่งบนพื้นโลก
มุมในระนาบ
a,b,g
เรเดียน
มุมฉาก


องศา

ลิปดา
วิลิปดา
rad
L


°

¢
¢¢
1 rad  = 1 m/m = 57,2957…°
1 L     = p rad = 90°
              2
                  
1°      = p rad = 60  ¢                                
             180
1¢        = 1°/60 = 60¢¢
1¢¢       = 1¢/60 = 1°/ 3600
มุม  1 เรเดียน คือมุมที่จุดศูนย์กลางที่เกิดขึ้นต่อส่วนโค้งยาว 1 เมตร ของวงกลมรัศมี 1 m
Solid angle
W
เรเดียน
sr


เวลา

t

วินาที
นาที
ชั่วโมง
วัน
ปี
s
min
h
d
a

1 min   = 60 s
1 h       = 60 min = 3600 s
1 d       = 24 h
1 a       » 365,25 d
3hหมายถึงช่วงเวลา (3ชม.)
3h   หมายถึงเวลา (3 นาฬิกา)
ย่อ min เป็น m ได้ในการบอกเวลา เช่น 3h   24 m   10s
ความถี่
f,v
ไซเกิล
Hz
1 Hz   = 1/s
1 Hz=Ù 1 คลื่นใน 1 วินาที
ความเร็วรอบ
n

รอบต่อวินาที
รอบต่อนาที
1/s
1/mjn
1/s      = 60/min  = 60 min –1   
1/min  = 1/60 s

ความเร็ว


ความเร็วเชิงมุม

v


w

เมตรต่อวินาที
เมตรต่อวินาที
กิโลเมตรต่อ ชม.
รอบต่อวินาที
เรเดียนต่อวินาที
m/s

m/min
1/s
ras/s
1 m/s = 60/m/min = 3,6 km/h

1 m/min = 1 m/60s
1 km/h   = 1 m/3,6 s
1 rad = มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่เกิดขึ้นต่อส่วนโค้งของวงกลมที่มีความยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมนั้น 2 p rad = 360°

อัตราเร่ง
a,g

เมตรต่อวินาที
ยกกำลังสอง
m/s2

1 m/ s2  = 1m/s
                 1 s
สำหรับอัตราเร่งที่เกิดจากแรงดึงดูดของโลก g = 9,81/ m/s2   ,10m/s2
แรง
น้ำหนัก
F
G

นิวตัน
N
1 N = 1 kg . 1 m/s  =  1 kgm
                     1 s              s2
แรง 1 N กระทำต่อมวล 1 kg ใน 1 s ให้ความเร็วจะเปลี่ยนไป 1 m/s
แรงกระตุ้น(impulse)
p

นิวตัน วินาที
Ns
1 Ns = 1 kgm
               1s


แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
คำชี้แจง  1.ให้นักศึกษาถามคำถามและตอบเองสั้น ๆ ให้ได้ใจความที่สมบูรณ์
                        2.นักศึกษาคิดว่าจะนำเนื้อหาของหน่วยการเรียนนี้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร  จงอธิบายลงในบล็อคนี้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น